สำนักงานทนายความ

สิทธิ การเลี้ยงดู

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

สิทธิ การเลี้ยงดู
« เมื่อ: มิถุนายน 13, 2015, 07:11:48 PM »
ผมกับภรรยา มีลูกด้วยกัน2คน จดทะเบียนสมรสคนพี่ชาย6ขวบ คนน้องญิง3 ขวบ แต่ตอนนี้คิดว่ากำลังจะหย่ากันเพราะคิดว่าอยู๋ไปมันทรมานจิตใจทั้ง2ฝ่าย ส่วนตัวผมอยากขอลูกคนโตมาเลี้ยง แล้ว คนน้องให้ภรรยาเลี้ยง ต่างคนต่างเลี้ยงดูได้ไหม ครับ หรือว่าต้องถึงขั้นฟ้องร้องกัน แต่คิิดว่าส่วนตัว ไม่ถึงขนาดฟ้องร้องนะครับ คุยกันได้ แต่ผมกลัวว่าถ้าไปทำนายทะเบียน เค้าจะไม่ให้ลูก คนใดคนหนึ่งกับผม หรือว่าได้หย่ากันแล้ว ผมมีสิทธฺิ์เลี้ยงดูลูกคนใดคนหนึ่ง เพราะต่างคนต่างสามารถเลี้ยงดูได้ เพียงแต่พ่อแม่ไม่สามารถอยู่ด้วยกันได้ แล้วสมมุติผมได้บุตรมาเลี้ยง ผมสามารถนำบุตรมาเข้าทะเบียนบ้านผมได้ไหมครับ เพราะตอนนี้บุตรทั้ง2คนอยู่ทะเบียนบ้านของภรรยา โดยเจ้าบ้านคือพ่อของภรรยาครับ คงยากแน่ๆที่จะทำเรื่องให้


Re: สิทธิ การเลี้ยงดู
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: มิถุนายน 15, 2015, 03:00:23 PM »
ผมกับภรรยา มีลูกด้วยกัน2คน จดทะเบียนสมรสคนพี่ชาย6ขวบ คนน้องญิง3 ขวบ แต่ตอนนี้คิดว่ากำลังจะหย่ากันเพราะคิดว่าอยู๋ไปมันทรมานจิตใจทั้ง2ฝ่าย ส่วนตัวผมอยากขอลูกคนโตมาเลี้ยง แล้ว คนน้องให้ภรรยาเลี้ยง ต่างคนต่างเลี้ยงดูได้ไหม ครับ หรือว่าต้องถึงขั้นฟ้องร้องกัน แต่คิิดว่าส่วนตัว ไม่ถึงขนาดฟ้องร้องนะครับ คุยกันได้ แต่ผมกลัวว่าถ้าไปทำนายทะเบียน เค้าจะไม่ให้ลูก คนใดคนหนึ่งกับผม หรือว่าได้หย่ากันแล้ว ผมมีสิทธฺิ์เลี้ยงดูลูกคนใดคนหนึ่ง เพราะต่างคนต่างสามารถเลี้ยงดูได้ เพียงแต่พ่อแม่ไม่สามารถอยู่ด้วยกันได้ แล้วสมมุติผมได้บุตรมาเลี้ยง ผมสามารถนำบุตรมาเข้าทะเบียนบ้านผมได้ไหมครับ เพราะตอนนี้บุตรทั้ง2คนอยู่ทะเบียนบ้านของภรรยา โดยเจ้าบ้านคือพ่อของภรรยาครับ คงยากแน่ๆที่จะทำเรื่องให้
ทำสัญญาบันทึกท้ายการหย่า ระบุรายละเอียดที่ตกลงกันได้ครับ ไม่มีปัญหาอะไร กำหนดไว้ด้วยว่าหากฝ่ายใดผิดสัญญา อีกฝ่ายมีสิทธิ์อะไรบ้างครับ
ขอบคุณ www.สํานักงานทนายความ.com ที่แบ่งปันพื้นที่

ทนายประมุข Line ID 0873611107

Preecha Yokthongwattana

  • ติดต่อ ทนายปรีชา 081-988-1845
  • ****
  • 428
  • 22
    • ดูรายละเอียด
Re: สิทธิ การเลี้ยงดู
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: มิถุนายน 17, 2015, 11:40:05 AM »
-หากคุณและภริยา ตกลงหย่ากัน คุณกับภริยาสามารถตกลงว่าฝ่ายใดจะเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองบุตรคนใดได้ตามม.1520 วรรค1 และเมื่อคุณได้ใช้อำนาจปกครองบุตรคนใด คุณก็มีสิทธิกำหนดที่อยู่ของบุตร กล่าวคือ สามารถนำบุตรเข้ามาในทะเบียนบ้านคุณได้ ตามม.1567 (1) ครับ
รับอบรม กฎหมาย
รับรองลายมือชื่อ ทนาย

ร่าง/แปล สัญญา ไทย-อังกฤษ
รับปรึกษาคดีความ
ติดต่อ ทนายปรีชา 081-988-1845
ขอบคุณ สำนักงานทนายความ.com ที่ให้ใช้พื้นที่ ;D

 

ด้วยฟังค์ชั่น ตอบด่วน คุณสามารถใช้โค๊ดและ เครื่องหมายแสดงอารมณ์ได้ เหมือนการตั้งกระทู้ธรรมดา แต่สามารถทำได้สะดวกกว่า

ชื่อ: อีเมล์:
Verification:
พิมพ์ชื่อประเทศของเราลงไป ::